ชาวลพบุรีรวมใจฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
บรรยากาศคึกคักในวันแรกของการมารายงานตัว (19 มกราคม พ.ศ.2553) ตามวัดต่างๆทั่วไทย ทำให้ผู้คนทุกพื้นที่เกิดความตื่นตัวกระแสการบวชพระแสนรูปกันอย่างกว้างขวาง พิธีแห่นาค และพิธีปลงผมที่จัดขึ้นในหลายๆพื้นที่ ทำให้ผู้ที่พบเห็นโดยเฉพาะชายแมนแมนตัดสินใจสมัครบวชกันในวันนั้นเลย ซึ่งตอนนี้ก็นับถอยหลังเหลืออีกเพียงไม่กี่วันเท่านั้น สำหรับบุญอัศจรรย์จากการตามผู้มีบุญมาบวช
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย มอบถุงยังชีพ ช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม จ.นครปฐม
วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย ได้มอบถุงยังชีพ เพื่อช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม ในเขตพื้นที่จังหวัดนครปฐม
พิธีตักบาตรพระภิกษุ - สามเณร 309 รูป ณ อบต.คลองสาม
พิธีตักบาตรพระภิกษุ - สามเณร 309 รูป ณ อบต.คลองสามเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา พร้อมทั้งนำข้าวสารอาหารแห้งไปช่วยเหลือคณะสงฆ์ 323 วัด 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้
น้ำท่วมจะอยู่ไหนดี?
เมื่อน้ำกำลังจะท่วมกรุงเทพฯ หลายคนยังไม่รู้ว่าควรจะอยู่บ้านหรือควรจะอพยพเราเลยขอสรุปข้อดีข้อเสียของทั้งสองทางมาให้ทุกคนดูเลยละกัน
เปรตหญิงสาวผู้หิวโหย
ในเปรตวิสัยนั้น ไม่มีกสิกรรม การเลี้ยงโคในเปรตวิสัยก็ไม่มี การค้าขายหรือการซื้อขายด้วยเงินก็ไม่มี สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงกาลล่วงสิ้นไปแล้ว ย่อมยังอัตภาพให้เป็นไปในเปรตวิสัยนั้น ด้วยทานอันเขาให้แล้วในมนุษยโลก
วัดพระธรรมกาย มอบทานมอบธรรมแก่หมู่บ้านทรัพย์สำราญ และหมู่บ้านศุภลักษณ์
วัดพระธรรมกาย ร่วมคณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกายทั่วโลก มอบทาน มอบธรรม มอบเวชภัณฑ์ และชุดปันน้ำใจ สู้ภัยโควิด-19 ให้แก่สมาชิกหมู่บ้านหมู่บ้านทรัพย์สำราญ และหมู่บ้านศุภลักษณ์ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
มูลนิธิธรรมกายช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม สุพรรณบุรี
มูลนิธิธรรมกาย โดย พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย) มอบเครื่องอุปโภคบริโภคให้แก่ผู้ประสบภัยน้ำท่วม จ.สุพรรณบุรี จำนวน 1,014 ชุด
พิธีมอบป้ายโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5
ผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช มอบป้ายยกย่องหมู่บ้านรักษาศีล 5 ที่จังหวัดสระบุรี พร้อมทั้งกล่าวให้โอวาท ”ถ้าทุกหมู่บ้านรักษาศีล 5 อย่างน้อย50 เปอร์เซนต์ ประเทศชาติจะสงบสุข
คณะกัลยาณมิตร อ.เบตง ทำหน้าที่ชวนชายแมนๆบวชเข้าพรรษา
คณะกัลยาณมิตรอำเภอเบตง ได้ออกทำหน้าที่เชิญชวนชายแมนๆ บวชในโครงการอุปสมบทหมู่รุ่นเข้าพรรษา 1 แสนรูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย
พลังความสามัคคี
กระผมขอกราบเรียนให้พระเดชพระคุณหลวงพ่อทราบนะครับว่า “ถนนเส้นเดิมจะใช้ได้เฉพาะในช่วงหน้าแล้งและหน้าหนาว ส่วนหน้าฝนไม่สามารถใช้ได้เพราะน้ำในลำน้ำแม่สองไหลมีปริมาณมาก จะซัดสะพานพัง ชาวบ้านต้องใช้วิธีการทำสะพานบนต้นไม้ปีนข้ามไป และเส้นทางที่ขุดใหม่นี้ จะใช้ได้ตลอดทั้งปี และเป็นระยะทางที่ลัดและตรงไปยังอำเภออมก๋อยได้ง่ายกว่าเส้นเดิมครับ”